วันพุธที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

จันทรุปราคา

สุริยุปราคา

ข้างขึ้นข้างแรม

การโคจรรอบโลกของดวงจันทร์

หมานอนละเมอ

ถ้าเข้ามา หนูชกจริง ๆ นะ เมี้ยว!!

Dancing Cat

วันศุกร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

สาหร่ายข้าวเหนียว

ชื่อวิทยาศาสตร์ Utricularia aurea Lour
อันดับ -
ชื่อวงศ์ LENTIBULARIACEAE
ชื่อสามัญ Leafy bladderwort
ชื่อพื้นบ้าน -


ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
มีลำต้นยาว ใบออกตรงกันเป็นคู่ หรือเป็นกระจุก 4 ใบ ใบแตกเป็นเส้นเล็ก ๆ เป็นพืชที่กิน
สัตว์เป็นอาหาร ที่โคนก้านใบจะพองออกมาเป็นถุงเล็กกระจายอยู่ทั่วต้น ใช้ดักจับสัตว์น้ำ

ขนาดเล็กกินเป็นอาหาร ภายในถุงมีต่อมเล็ก ๆ สร้างน้ำย่อย ใช้ย่อยสัตว์น้ำขนาดเล็ก
ที่หลุดเข้าไป ดอกสี เหลืองขนาดใหญ่เห็นชัด ออกเป็นช่อ ๆ ละ 4-8 ดอก ก้านช่อดอกยาว
ส่งดอกขึ้นมาเจริญเหนือน้ำ

กลุ่มพรรณไม้น้ำ
ประเภทลอยน้ำ

แหล่งที่พบ
ชอบขึ้นในที่ตื้น



ดอกสาหร่ายข้าวเหนียว

สาหร่ายข้าวเหนียว

วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

VDO พืชกินแมลง

VDO ต้นหยาดน้ำค้าง

ต้นหยาดน้ำค้าง 3

ต้นหยาดน้ำค้าง 2

ต้นหยาดน้ำค้าง 1

VDO ต้นกาบหอยแครง 2

VDO ต้นกาบหอยแครง 1

ต้นกาบหอยแครง 2


ต้นกาบหอยแครง 1

VDO การตอบสนองต่อเสียงของต้นช้อยนางรำ 2

VDO การตอบสนองต่อเสียงของต้นช้อยนางรำ 1

ช้อยนางรำ

ชื่ออื่น ๆ : ช้อยนางรำ, นางรำ, ช้อยนางรำ, ว่านมีดยับ (ไทย)

ชื่อสามัญ : -

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Desmodium gyrans

วงศ์ : PAPILIONEAE


ลักษณะทั่วไป :

ต้น : เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก อยู่ในจำพวกหญ้า ลำต้นมีความสูงประมาณ 90 ซม. ส่วนผิวของลำต้นนั้น จะเป็นสีไม้แห้ง

ใบ : ใบย่อยนั้นจะเป็นสีเขียวรูปไข่ ใบมีความยาวประมาณ 2-7 ซม. และกว้าง ประมาณ 1-3 ซม.
ตรงโคนใบนั้น จะกระดุกกระดิกได้คล้ายกับมีวิญญาณ

ดอก : จะเป็นดอกเล็ก ๆ คล้ายดอกถั่วแปบ แต่จะเล็กกว่าถั่วแปบมาก และเป็นดอกสีม่วงปนขาว
ลักษณะคล้ายดอกผักตบ

ฝัก : จะมีลักษณะแบน ๆ และมีความกว้าง 0.3 ซม. ยาว 2.5 ซม.

เมล็ด : เมล็ดนั้นมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วดำ แต่จะมีขนาดโตเท่าหัวไม้ขีดไฟ ในฝักหนึ่งจะมีเมล็ด
ประมาณ 2-6 เมล็ด เมล็ดเป็นสีดำ

การขยายพันธุ์ : โดยการใช้เมล็ด

อื่น ๆ : พรรณไม้นี้บางคนปลูกไว้ในกระถาง แล้วนำไปใส่ตู้ไว้โดยมิให้ถูกลมพัดได้ แล้วจึงช่วยกันตบมือ
ใบอ่อนของพรรณไม้นี้ก็จะกระดิกได้เป็นจังหวะ ถึงแม้ว่าเราจะจ้องดูอยู่โดยไม่ให้มันเคลื่อนไหว แต่มันก็กระดิกได้เองตามธรรมชาติของมัน จึงเป็นพรรณไม้ที่น่าอัศจรรย์อีกชนิดหนึ่ง

ถิ่นที่อยู่ : พรรณไม้นี้มันขึ้นเองตามป่าชื้นทั่วไป หรือจะปลูกไว้ตามบ้านเพื่อไว้ดูเล่น



ต้นช้อยนางรำ 2




วันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553

" บิดาทฤษฎีแห่งความโน้มถ่วง "



เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton)


ชาวอังกฤษ
เกิด วันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642
ถึงแก่กรรม ปี ค.ศ. 1727




ผลงานสร้างชื่อเสียง
- ค้นพบ ทฤษฎีแห่งความโน้มถ่วง
- ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง
- ใช้ปริซึมในการกระจายแสงขาว
- อื่น ๆ

"เจ้าชายแห่งนักพฤกษศาสตร์ "




คาโรลุส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)

นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน

เกิด วันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1707

ถึงแก่กรรม วันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1778
ผลงานสร้างชื่อเสียง
เขียนตำราชื่อ ซิสเตมมา เนเชอเร (เดอะ ซิสเตม ออฟ เนเชอร์)
ซึ่งเป็นตำราเกี่ยวกับการตั้งชื่อพืช เป็นภาษาละตินสองชื่อ
ชื่อหนึ่งบอกหมวดหมู่ (จีนัส) และอีกชื่อหนึ่งบอกชนิด (สปีชี่)
รู้จักกันในปัจจุบันว่า ชื่อวิทยาศาสตร์

" บิดาแห่งดาราศาสตร์ "




กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)

ชาวอิตาลี
เกิด วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564
เสียชีวิต วันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1642

ผลงานที่สร้างชื่อเสียง
- ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
- ประดิษฐ์นาฬิกาลูกตุ้ม
- ค้นพบดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี
- ค้นพบทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุ

รวมนักวิทยาศาสตร์ระดับโลก


นักวิทยาศาสตร์ที่โด่งดังและมีชื่อเสียงไปก้องโลก
มีใครบ้าง? เรามาทำความรู้จักกับเขาเหล่านั้นกันดีกว่าครับ

วันพฤหัสบดีที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ภาพพิศวง 2



จ้องที่จุดสีดำตรงกลาง


มองเห็นอะไรบ้างคะ?



มองที่จุดสีดำ ตรงกลาง
แล้วลองยื่นหน้าเข้า- ออก

มองเห็นอะไรบ้าง?


รูปอะไรเอ่ย?



มองเห็นเป็นรูปอะไรกันคะ

ปล. ให้มองแค่แป๊บเดียวนะ
อย่าจ้องนาน



ประวัติของกาลิเลโอ



เกิด >> วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564
ที่เมืองปิซา ประเทศอิตาลี

เสียชีวิต >> วันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1642
ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี


พระอาทิตย์ยิ้ม



น่ารักดี เลยเอามาฝาก

ดูแล้ว อย่าลืมยิ้มนะ


กาลิเลโอ กาลิเลอี


กาลิเลโอ กาลิเลอี นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี

เป็นคนแรกที่ใช้กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง

สังเกตวัตถุบนท้องฟ้า เมื่อปี ค.ศ. 1609

ลูกเรืออะพอลโล 11


ลูกเรือของยานอะพอลโล 11 มี 3 คน

ซ้าย >> นีล อาร์มสตรอง
ตรงกลาง >> ไมเคิล คอนลินส์
ขวา >> เอ็ดวิน อัลดริน

วันพุธที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ปลาหมึกพอล


โด่งดังไปทั่วโลก จากความสามารถในการ
ทายผลการแข่งขันกีฬาฟุตบอล

แต่ทราบหรือไม่ว่า พอลเป็นหมึกยักษ์
ไม่ใช่ ปลา อย่างที่เราชอบเรียกกัน
หมึกยักษ์ จัดเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
พวกเดียวกับหอย

วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

สำรวจดวงจันทร์


ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1969 หรือ พ.ศ. 2512
สหรัฐอเมริกาได้ส่งนักบินอวกาศ 3 คน เดินทาง
ไปสำรวจดวงจันทร์ ด้วยยานอวกาศ่ ที่มีชื่อว่า
ยานอะพอลโล 11



ดวงจันทร์ (Moon)


ดวงจันทร์เป็นบริวารดวงเดียวของโลก
อยู่ใกล้โลกมากเมื่อเทียบกับดวงอาทิตย์

ระยะห่างจากโลกเฉลี่ย 384,400 กิโลเมตร
มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3,476 กิโลเมตร

โคจรรอบโลกและหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ
ใช้เวลาเท่ากันพอดี คือ ประมาณ 29.5 วัน

ทักทาย


สวัสดีค่ะ นี่คือ นวเมธาพงศ์บล็อก
ยินดีต้อนรับ สมาชิกใหม่
และผู้ที่สนใจทุกท่าน ^^